นวัตกรรมเพื่อสุขภาพ
และความเป็นอยู่ที่ดี
Innovation for good health & well-being

ประกาศรายชื่อทีมที่ผ่านรอบคัดเลือกแล้ว

นวัตกรรมเพื่อสุขภาพ
และความเป็นอยู่ที่ดี
Innovation for good health & well-being

สร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดี เพื่อสังคมไทยอย่างยั่งยืน

โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม
เชิญชวนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาทั่วประเทศ
ร่วมกันคิดค้นและพัฒนานวัตกรรม
เพื่อเป็น Best Solutions
ภายใต้หัวข้อ

นวัตกรรมเพื่อสุขภาพ
และความเป็นอยู่ที่ดี

ดูรายละเอียดและสมัครได้ที่
https://cudhackathon.com
ช่องทางติดต่อสอบถาม
cud.hackathon@satitm.chula.ac.th
Line Official : @cudhackathon

story

ท่ามกลางสถานการณ์

หลังการแพร่ระบาดจากไวรัสโควิด-19 สังคมไทยยังคงเผชิญกับความเสี่ยงต่อความเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากปัจจัยต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา อาทิเช่น การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อที่ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน การเสียชีวิตจากการได้รับสารเคมี และการปนเปื้อนจากแหล่งต่างๆ ปัญหามลพิษทางอากาศและฝุ่นละออง PM2.5 รวมไปถึงข้อจำกัดต่างๆ ในการเข้าถึงและรู้เท่าทันในการดูแลสุขภาวะของตนเองของคนในทุกช่วงวัย จึงทำให้การแสวงหาแนวทางการป้องกันและแก้ปัญหาเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ยังเป็นสิ่งสำคัญเร่งด่วนและจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์

เพื่อส่งเสริม

การมีสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับคนทุกช่วงวัยสอดคล้องตามเป้าหมายที่ 3 ของการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG3) ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญต่อการยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนและการพัฒนาประเทศ

โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม

ได้เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาเยาวชนไทยให้เป็นนวัตกรที่คิดทำเพื่อสังคม และมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์สังคมให้มีคุณภาพ จึงจัดเวทีการประกวดออกแบบนวัตกรรมที่ท้าทาย ให้คนรุ่นใหม่ได้คิดสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดีซึ่งเป็นแนวทางการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด (Best Solutions) เพื่อสังคมไทยอย่างยั่งยืน พร้อมนำเสนอโมเดลเชิงธุรกิจด้วยการ Pitching เพื่อพัฒนาให้เยาวชนไทยได้ฝึกการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) ในรูปแบบกิจกรรม CUD Hackathon

ท่ามกลางสถานการณ์

หลังการแพร่ระบาดจากไวรัสโควิด-19 สังคมไทยยังคงเผชิญกับความเสี่ยงต่อความเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากปัจจัยต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา อาทิเช่น การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อที่ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน การเสียชีวิตจากการได้รับสารเคมี และการปนเปื้อนจากแหล่งต่างๆ ปัญหามลพิษทางอากาศและฝุ่นละออง PM2.5 รวมไปถึงข้อจำกัดต่างๆ ในการเข้าถึงและรู้เท่าทันในการดูแลสุขภาวะของตนเองของคนในทุกช่วงวัย จึงทำให้การแสวงหาแนวทางการป้องกันและแก้ปัญหาเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ยังเป็นสิ่งสำคัญเร่งด่วนและจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์

เพื่อส่งเสริม

การมีสุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีสำหรับคนทุกช่วงวัยสอดคล้องตามเป้าหมายที่ 3 ของการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 3) ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญต่อการยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนและการพัฒนาประเทศ

โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม

ได้เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาเยาวชนไทยให้เป็นนวัตกรที่คิดทำเพื่อสังคม และมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์สังคมให้มีคุณภาพ จึงจัดเวทีการประกวดออกแบบนวัตกรรมที่ท้าทาย ให้คนรุ่นใหม่ได้คิดสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดีซึ่งเป็นแนวทางการแก้ปัญหาที่ดีที่สุด (Best Solutions) เพื่อสังคมไทยอย่างยั่งยืน พร้อมนำเสนอโมเดลเชิงธุรกิจด้วยการ Pitching เพื่อพัฒนาให้เยาวชนไทยได้ฝึกการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) ในรูปแบบกิจกรรม CUD Hackathon

วันนี้ - 7 ธันวาคม 2565

รับสมัครรอบคัดเลือก

16 ธันวาคม 2565

ประกาศผลรอบคัดเลือก

28 - 29 มกราคม 2566

รอบชิงชนะเลิศ

คุณสมบัติของผู้เข้าร่วมแข่งขัน

ทีมเข้าแข่งขัน 1 ทีม ประกอบด้วย

  • นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษา จำนวน 4 คน จากสถานศึกษาเดียวกัน

  • อาจารย์ที่ปรึกษา 1 - 2 คน จากสถานศึกษาเดียวกัน

การรับสมัคร

ให้สมาชิกทีมเข้าแข่งขันกรอกรายละเอียดการสมัครทั้ง 4 รายการ พร้อมส่งตามช่องทางที่กำหนดให้ดังนี้

  • กรอกใบสมัครของทีมเข้าแข่งขันได้ที่ https://bit.ly/regiscudhackathon2023

  • เอกสารเค้าโครงนวัตกรรม CUD Hackathon 2023

  • เอกสารรับรองสถานภาพผู้เรียนที่รับรองโดยสถาบันการศึกษาต้นสังกัด

  • ลิงก์ YouTube VDO Presentation ความยาวไม่เกิน3 นาที พร้อมตั้งชื่อคลิป โดยระบุชื่อผลงาน_ชื่อทีม เช่น HealthUp_ABC

ข้อมูลเงินรางวัล

ชิงเงินรางวัลมูลค่ารวมกว่า 50,000 บาท
นอกจากนี้ผู้ชนะยังได้โล่และเหรียญรางวัล พร้อมเกียรติบัตร  
เงินรางวัลพิเศษจากบริษัท อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์ (INEX)จำกัด ที่จะมอบให้แก่ทีมผู้ชนะ และ
บริษัท อาษา โปรดักชั่น จำกัด ขอสนับสนุนและมอบรางวัลเป็นแพคเกจ License อาษาเฟรมเวิร์คให้กับผู้ที่ได้รับรางวัล
รางวัลชนะเลิศ
25,000 บาท
License อาษาเฟรมเวิร์ค 1 ปี
499.99 USD
รองชนะเลิศอันดับ 1
15,000 บาท
License อาษาเฟรมเวิร์ค 6 เดือน
249.99 USD
รองชนะเลิศอันดับ 2
10,000 บาท
License อาษาเฟรมเวิร์ค 3 เดือน
149.97 USD

หลักเกณฑ์การตัดสินในรอบคัดเลือก

หลักเกณฑ์การตัดสินรอบคัดเลือก

ด้านความคิดสร้างสรรค์

ด้านผลกระทบและมีคุณค่าต่อสังคมในวงกว้าง

ด้านเทคนิคการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี IoT, AI, Robotics หรือ Software on Devices หรือบูรณาการเทคโนโลยีอื่นๆ ในการออกแบบ

ด้านวิธีการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนและใช้งานได้จริง

ด้านความเป็นไปได้ในการขยายผลเชิงธุรกิจ

ขั้นตอนและกระบวนการเข้าร่วมการแข่งขัน

ขั้นตอนและกระบวนการเข้าร่วมการแข่งขัน

รับสมัครรอบคัดเลือก

วันนี้ - 7 ธันวาคม 2565

  • กรอกใบสมัครของทีม และแนบเอกสารได้ที่นี่

    เข้าร่วมโครงการ
  • ลิงก์ YouTube VDO Presentation ความยาวไม่เกิน3 นาที พร้อมตั้งชื่อคลิป โดยระบุชื่อผลงาน_ชื่อทีม เช่น HealthUp_ABC

ประกาศผลรอบคัดเลือก

16 ธันวาคม 2565

  • ประกาศผลทีมที่สามารถผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ จำนวน 30 ทีมในเว็บไซต์ www.cudhackathon.com

  • ทีมงานจะติดต่อกลับทางอีเมล์ที่ผู้สมัครให้ไว้

รอบชิงชนะเลิศ

28 - 29 มกราคม 2566

  • กิจกรรม Workshop ในหัวข้อ Pitching และ Meet the Guru ในด้าน Engineering, IoT, Product Design, Business Model และ Incubation

  • การประกาศโจทย์การแข่งขัน

  • การแข่งขัน Hackathon

  • กิจกรรม Pitching

timeline

This is some text inside of a div block.

Some Title Here

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique.
Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat.
Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

Heading

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique.
Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat.
Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

Heading

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Suspendisse varius enim in eros elementum tristique.
Duis cursus, mi quis viverra ornare, eros dolor interdum nulla, ut commodo diam libero vitae erat.
Aenean faucibus nibh et justo cursus id rutrum lorem imperdiet. Nunc ut sem vitae risus tristique posuere.

ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้สนับสนุนการแข่งขัน CUD Hackathon

ผู้ทรงคุณวุฒิ

คุณอรนุช เลิศสุวรรณกิจ

CEO และ Co-Founder บริษัท เทคซอส มีเดีย จำกัด

ผศ.ดร.ชัยพร ภู่ประเสริฐ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศ.ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศ.ดร.วรัญญู พูลเจริญ

คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
CTO และ Co-Founder บริษัท ใบยา ไฟโตฟาร์ม จำกัด

ผศ.ภญ.ดร.สุธีรา เตชคุณวุฒิ

คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
CEO และ Co-Founder บริษัท ใบยา ไฟโตฟาร์ม จำกัด

ผศ.ดร.ปอรรัชม์ ยอดเณร

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รศ.ดร.อาษา ตั้งจิตสมคิด

ประธานกรรมการ ARSA Productions

อาจารย์ พญ.กษมา นิลประภา

คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ดร.พิมพา ลิ้มทองกุล

นายกสมาคมเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานไทย (TESTA)

อาจารย์ จิระศักดิ์ สุวรรณโณ

ที่ปรึกษาโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ดร.อภิชาติ อินทรพาณิชย์

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)

คุณชัยวัฒน์ ลิ้มพรจิตรวิไล

กรรมการผู้จัดการบริษัทอินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเมนต์ จำกัด

พันธมิตรและผู้สนับสนุนโครงการ

พันธมิตร และ ผู้สนับสนุนโครงการ